วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557
computer project
จากคลิปนี้เป็นการควบคุมการเคลื่อนที่ของรถโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวประมวลผลซึ่งในคลิปนี้เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานในการทำ
วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างสื่อการเรียนรู้
ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext)
ไฮเปอร์เท็กซ์ หมายถึง
ข้อความหรือกลุ่มของข้อความที่ถูกเชื่อมโยงเข้าด้วยกันโดยมีการนำเสนอแบบปฏิสัมพันธ์
โดยการนำข้อความที่ใช้ มาเป็นจุดเชื่อมโยง ซึ่งจะมีลักษณะเด่นกว่าข้อความอื่น เช่น
การขีดเส้นใต้ การเน้นด้วยสี ตัวหนา หรือตัวเอียง เป็นต้น
ไฮเปอร์บุ๊ก (Hyperbook)
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แต่หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ก็คือ
หนังสือที่เก็บอยู่ในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ หรือเก็บไว้อยู่ในแบบของไฟล์
โปรแกรมส่วนมากที่เข้าใจกันคือ หนังสือที่เก็บในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ต้องใช้กระดาษและมีการสร้างจากคอมพิวเตอร์
และสามารถอ่านได้จากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่าง คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก พีดีเอ(Personal Digital
Assistant) Palm และ PocketPC หรือกระทั่งอ่านได้จากโทรศัพท์มือถือบางรุ่น
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
CAI
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หมายถึง
สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง
ซึ่งใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสื่อประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง
กราฟฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง
เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน หรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุด
โดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
และกระตุ้นให้เกิดความต้องการที่ จะเรียนรู้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดีของสื่อการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว
ซึ่งผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ
(FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อ
ที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี
รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา
แหล่งอ้างอิง
https://sites.google.com/site/ajyutt/khxmphiwtexr-chwy-sxn-cai
http://nicennnn.blogspot.com/2013/12/hyperbook.html
https://chalad.wordpress.com/subject/20209-2/20209-lesson-4/
https://chalad.wordpress.com/subject/20209-2/20209-lesson-4/
วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ความหมาย
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา
โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน
และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน
ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง
ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม
วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ
โดยนักเรียนอาจคัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทำความเข้าใจยาก
มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน
ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
ตัวอย่างโปรแกรมCAI
โปรแกรม stellarium
ตัวอย่างเกมส์เพื่อการศึกษา
โปรแกรม เถ้าแก่น้อย
วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557
วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2557
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ต
เมื่อท่านต้องการเข้าใช้บริการต่าง ๆในอินเตอร์เน็ตนั้นท่านจำเป็นต้องทำการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ซึ่งการเชื่อมต่อที่นิยมกันมีอยู่สามประเภทดังนี้
เมื่อท่านต้องการเข้าใช้บริการต่าง ๆในอินเตอร์เน็ตนั้นท่านจำเป็นต้องทำการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต ซึ่งการเชื่อมต่อที่นิยมกันมีอยู่สามประเภทดังนี้
- เชื่อมต่อกันโดยตรง(Direct conection)
- เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์แบบ
Dialup IP
- เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์แบบ
Terminal Emulation
เชื่อมต่อกันโดยตรง(Direct conection)
วิธีการเชื่อมต่อแบบนี้เป็นวิธีที่ทรงประสิทธิภาพที่สุด
แต่เป็นวิธีที่เสียค่าใช้จ่ายแพงที่สุด
ดังนั้นจึงเหมาะกับหน่วยงานขนาดใหญ่เพราะมีงบประมาณมากพอ
การเชื่อมต่อแบบนี้เป็นการเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตโดยตรงไม่ผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์
หรือ เครือข่ายอืน และเป็นการเชื่อมต่อตลอดเวลาคือ ตลอด 24 ชั่วโมง และ ทุกวัน
จะใช้อินเตอร์เน็ตหรือไม่ใช้ก็จะเชื่อมต่ออยู่ตลอดเวลา สิ่งที่
ทางหน่วยงานที่ต้องการใช้วิธีเชื่อมต่อแบบนี้ต้องจัดหาได้แก่
- สายสัญญาณสื่อกลางอาจเป็นสายเช่าพิเศษ
เช่น Leased Line, ISDN เป็นต้น
- อุปกรณ์เชื่อมต่อเข้ากับสายสัญญาณสื่อกลาง
อุปกรณ์ที่ว่านี้คือ Router ซึ่งทำหน้าที่เป็น Gateway
สู่อินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่อทำได้โดยใช้อุปกรณ์ Routerทำการเชื่อมคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานหรือ
เน็ตเวิร์กของหน่วยงานเข้ากับสายสัญญาณสื่อกลาง สำหรับสายสัญญาณสื่อกลางนี้จะต่อไป
ยังหน่วยงานผู้ให้บริการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตหรือ Internet Service Provider (ISP) เนื่องจากว่า ISP มีวงจรที่เชื่อมต่อไปยังอินเตอร์เน็ต
ดังนั้นเมื่อเชื่อมต่อแล้วคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์ก ของหน่วยงานนั้น
ก็จะสามารถติดต่อกับอินเตอร์เน็ตได้ตลอดเวลา
เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์แบบ
Dialup IP
การเชื่อมต่อวิธีนี้เป็นการเชื่อมต่อแบบไม่ตลอดเวลา เมื่อไรที่ต้องการใช้อินเตอร์เน็ตก็ค่อยทำการ เชื่อมต่อ และเมื่อเลือกใช้ก็ค่อยยกเลิกการเชื่อมต่อ วิธีนี้เหมาะกับหน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณพอ ที่จะใช้วิธีแรกหรือหน่วยงานขนาดเล็ก หรือบุคคลทั่วไปอาจใช้วิธีนี้เพราะว่าเสียค่าใช้จ่ายไม่แพง
การเชื่อมต่อวิธีนี้เป็นการเชื่อมต่อแบบไม่ตลอดเวลา เมื่อไรที่ต้องการใช้อินเตอร์เน็ตก็ค่อยทำการ เชื่อมต่อ และเมื่อเลือกใช้ก็ค่อยยกเลิกการเชื่อมต่อ วิธีนี้เหมาะกับหน่วยงานที่ไม่มีงบประมาณพอ ที่จะใช้วิธีแรกหรือหน่วยงานขนาดเล็ก หรือบุคคลทั่วไปอาจใช้วิธีนี้เพราะว่าเสียค่าใช้จ่ายไม่แพง
การเชื่อมต่อวิธีนี้ใช้ผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์คือเมื่อไรที่ต้องการใช้อินเตอร์ก็ให้หมุนโทรศัพท์ติดต่อไป
สิ่งแรกที่ท่านที่ต้องการใช้อินเตอร์เน็ตวิธีนี้ต้องทำคือ
ต้องไปสมัครเป็นสมาชิกของหน่วยงานผู้ให้บริการ อินเตอร์เน็ต หรือ ISP(Internet service provider) เจ้าใดเจ้าหนึ่ง
เมื่อสมัครเป็นสมาชิกแล้ว ทางISP
จะให้ชื่อผู้ใช้(user
account) และรหัสผ่าน(password)
พร้อมทั้งเบอร์โทรศํพท์สำหรับติดต่อใช้อิน เตอร์เน็ต
เบอร์โทรศัพท์ที่ว่านี้บางทีอาจมีเป็นร้อยเบอร์ หรือพันเบอร์
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าISPมีสมาชิก
มากน้อยเท่าไร
เชื่อมต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์แบบ
Terminal Emulation
การเชื่อมต่อวิธีนี้จะมีค่าใช้จ่ายถูกที่สุด
ลักษณะการเชื่อมต่อเหมือนกับวิธีที่สอง คือผ่านทางเครือข่ายโทรศัพท์
มีข้อแตกต่างจากวิธีที่สองอยู่ตรงที่รูปแบบการใช้งาน มีรูปแบบเดียวคือต้องใช้ในแบบ
text เท่านั้น
ไม่สามารถใช้ในแบบกราฟิกได้
บริการอะไรก็ตามในอินเตอร์เน็ตก็ตามที่เป็นมีลักษณะการใช้งาน เป็นแบบกราฟิก
จะใช้ไม่ได้ในการเชื่อมต่อวิธีนี้ เช่น Web เป็นต้น ส่วนบริการที่มีลักษณะการใช้งานเป็น text ย่อมสามารถใช้ในการติดต่อวิธีนี้ได้
เช่น จดหมายอิเล็คโทรนิคส์ (E-mail)
เป็นต้น ดังนั้นบางแห่งจึงเรียกการเชื่อมต่อวิธีนี้ว่า
การติดต่อแบบไปรษณีย์เท่านั้น (E-mail
Only Connection)
วันพฤหัสบดีที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
คำศัพท์คอมพิวเตอร์
1> executive routine : ชุดคำสั่งประจำกระทำการ
เป็นโปรแกรมที่มีความเชี่ยวชาญในระบบควบคุใการทำงานและแปลโปรแกรมอื่นมักจะอ้างอิงถึงการแปลคำสั่งแสดงผลลัพธ์ หรือหัวหน้างาน
2> executive workstation : สถานีงานกระทำการ
4> hardware : ส่วนเครื่อง หรือส่วนอุปกรณ์
เป็นโปรแกรมที่มีความเชี่ยวชาญในระบบควบคุใการทำงานและแปลโปรแกรมอื่นมักจะอ้างอิงถึงการแปลคำสั่งแสดงผลลัพธ์ หรือหัวหน้างาน
2> executive workstation : สถานีงานกระทำการ
เป็นหน่วยคอมพิวเตอร์พิเศษที่ออกแบบมาสำหรับคนที่ยุ่งมีงานมาก คนเหล่านี้จะมีกุญแจพิเศษและรับข้อมูลโดยเมาส์หรือหน้าจอโดยตรงเขาจะมีนิสัยเป็นนักกระทำคำหรือประมวลผลข้อมูล, จัดการฐานข้อมูล, รูปภาพ และสนับสนุนการทำงานต่างๆ
3> hard disk : จานบันทึกแบบแข็ง
3> hard disk : จานบันทึกแบบแข็ง
วัตถุที่เป็นโลหะ จาน ของแข็ง ซึ่งจะครอบคลุมด้วยแม่เหล็ก จะเป็นแผ่นกลมใช้ห้อยในเปรียบเทียบสิ่งที่ต้องการแต่ละชนิด
4> hardware : ส่วนเครื่อง หรือส่วนอุปกรณ์
การประดิษฐ์ส่วนประกอบของวัตถุ นำมาปะติดปะต่อโดยมีส่วนประกอบ ตัวอย่างเช่น เครื่องมืออิเล็กตรอน แม่เหล็กและเครื่องจักร โดยจะมีส่วนตรงข้ามกับซอร์ฟแวร์
5> hierarchical data structure : โครงสร้างข้อมูลเชิงลำดับขั้น
5> hierarchical data structure : โครงสร้างข้อมูลเชิงลำดับขั้น
เป็นส่วนตรรกวิทยาซึ่งจะใกล้เคียงกับข้อมูลที่เป็นรากฐานของโครงสร้างที่มีส่วนประกอบหรือเป็นพ่อ แม่มีลูกแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ทีละคน หรือมีมากกว่าส่วนอื่น จะแยกออกเป็นแขนงของเจ้าของในส่วนประกอบเพียงอันหนึ่งอันเดียวของพ่อแม่
6> high-level language : ภาษาระดับสูง
6> high-level language : ภาษาระดับสูง
การเขียนภาษาของโปรแกรมทางทวีปจะดูถึงปัญหา ความไม่เข้าใจ และการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานของผู้ใช้ คำสั่งในการให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้สะดวกในการเขียนจดหมายแสดงงาน หรืองานต้น ฉบับของอังกฤษ ค่อนข้างที่จะใช้การประมวลผลของคอมพิวเตอร์ให้เข้าใจให้ทราบ
7> input/output : รับเข้า/ส่งออก
7> input/output : รับเข้า/ส่งออก
จะเกี่ยวข้องกับทางวิชาการ สื่อ กลไกในการประดิษฐ์ของผู้ใช้ในการทำงานให้บรรลุทั้งมนุษย์และเครื่องจักรในการคมนาคม โดยจะเกี่ยวข้องถึงการปฏิบัติงานของผู้ใช้นำเอาข้อมูลเข้าและออกจากระบบคอมพิวเตอร์
8> instruction : คำสั่งหรือคำสั่งเครื่อง
8> instruction : คำสั่งหรือคำสั่งเครื่อง
การเซ็ตข้อมูลที่เป็นตัวอักษรในคำสั่งระบบปฏิบัติการของข้อมูล แสดงผลการทำงานใน i.e. เป็นส่วนสำคัญและนิยมตั้งขึ้น เพื่อให้ให้คำสั่งในระบบดีขึ้น
9> integrated software package : ชุดคำสั่งสำเร็จเบ็ดเสร็จ
เป็นซอร์ฟแวร์ที่มีผลคำสั่งประกอบกันหลายๆ ครั้ง ใช้ประโยชน์ในระบบ e.g. การประมวลผลในเวิร์ด เป็นการขยายหน้ากระดาษสร้างเส้นจนกระทั่งเป็นอันเดียวกัน บรรจุรวมกันสามารถมีส่วนร่วมของข้อมูลและดำเนินการดูในระหว่างทำหน้าที่ในระบบ
10> interactive system : ระบบเชิงโต้ตอบ
เป็นคำสั่งในการยอมให้มีการติดต่อและโต้ตอบกันในระหว่างระบบของผู้ใช้งานและทำการปฏิบัติงานของ CPU ในโปรแกรม
11> interface : ตัวเชื่อมประสาน
ส่วนประกอบของเขตข้อมูล e.g. ในระบบทั้ง 2 หรือกลไกในการเชื่อมประสาน
12> expert system : ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ซอร์ฟแวร์จะรวมประกอบด้วย 1 มีความรู้ความชำนาญในขอบเขตจำนวนพื้นฐานที่ได้ทราบ 2 สามารถรอบรู้พื้นฐานในการทำและตัดสินใจมีคุณสมบัติพร้อม
13> facsimile system : ระบบโทรภาพ, โทรสาร
เป็นระบบที่ผู้ใช้สื่อสารทางรูปภาพ ต้นฉบับและแผนที่และอื่นๆ ระหว่างทางภูมิศาสตร์ ตามส่วนแยกหัวข้อ รูปภาพที่สแกนเป็นสื่อของหัวข้อและภาพจำลองความคิดของเรื่อง
14> fiber-optic cable : สายเส้นใยนำแสง
ข้อมูลที่เป็นสื่อในการนำสายใยมาดูและสายแก้ว หรือวัตถุหลอมได้ที่สามารถเป็นสื่อจำนวนมากมายในขณะที่มีความเร็วในการส่องสว่างของข่าวสารข้อความที่ออกมา
15> field : เขตข้อมูล
กลุ่มตัวอักษรที่เกี่ยวกับการปฏิบัติในยูนิต e.g. กลุ่มของผู้ใช้การ์ดข้อมูลแทนอัตราค่าจ้างเป็นชั่วโมง รวมทั้งการบันทึกรายการหัวเรื่องต่างๆ
16> flowchart : ผังงาน
แผนผังสัญลักษณ์ของผู้ใช้และการแสดงเส้นที่ติดต่อซึ่งกันและกัน
17> front-end processor : ตัวประมวลผลส่วนหน้า
ซีพียูของโปรแกรมจะทำหน้าที่เป็นตัวประมวลผลระหว่างส่วนหน้าเป็นส่วนใหญ่และมีกลไกความสามารถหลายชนิดซึ่งจะอยู่รอบนอกของโปรแกรม
18> full duplex transmission : การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา
ข้อมูลบนทางการติดต่อจะถูกส่งไปพร้อมกัน เวลาที่ซึ่งข้อมูลสามารถสื่อสารกันมันจะไหลในคำสั่งทั้งสองในเวลาเดียวกัน
19> function : ส่วนหน้าที่ย่อย
ส่วนที่ทำหน้าที่ของโปรแกรม จะเรียกใช้งานภายในและคอมพิวเตอร์นิยมทำงานในคราวเดียว การย้อนกลับของหัวข้อโปรแกรมตลอด ซึ่งของโปรแกรมจะผ่านเข้าไปตลอด
20> half-duplex transmission : การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา
ข้อมูลบนทางการติดต่อจะถูกส่งไปทางเดียวกัน แต่จะมีข้อมูลส่งไปสลับกันในระยะเวลาที่ต่างกันข้อมูลไม่สามารถที่จะส่งไปในเวลาเดียวกัน
21> hard copy : สำเนาถาวรหรือสิ่งพิมพ์ออก
พิมพ์หรือภาพที่ออกมาจากการมองเห็นของมนุษย์
22> mainframe : คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่สามรถรับจำนวนของกลไกภายรอบนอกได้มาก
23> maintenance programming : รักษาโปรแกรม
ข้อปฏิบัติในการักษาแก้ไขสภาพของโปรแกรมให้ถูกต้องและคงอยู่สภาพดังเดิม
24> management information system : ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศในพื้นฐานของคอมพิวเตอร์จะทำการดูทำเค้าโครงเหมือนการจัดการในสารสนเทศมีแผนจัดการเส้นแสดง แนะนำทำการแสดงผลของระบบภายในอวัยวะของร่างกาย
25> master file : แฟ้มข้อมูลหลัก
ข้อมูลในแฟ้มที่มีความคงทนถาวร หลายๆครั่งจะมีการจัดการปรับปรุงแฟ้มในการบันทึกข้อมูลให้ทันสมัยขึ้น
26> menu : รายการเลือก
คอมพิวเตอร์ที่ใช้จะเซตโปรแกรมเพื่อเตรียมการไว้เลือกคำสั่งในการแสดงหัวข้อผู้ใช้สามารถดูได้จากการเลือกเมนูคำสั่งแสดงผลโปรแกรมจะทำงานหนักมากในการรันโปรแกรม
27> microcomputer : ไมโครคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กสามารถแยกออกเป็นแต่ละประเภท ประกอบด้ววย การดำเนินงานของไมโครโปรเซสเซอร์ ผู้ใช้และปะปนกับการเก็บรักษาและการรับเข้าส่งออกส่วนต่างๆ ระบบคอมพิวเตอร์เล็กนี้จะประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์และซอต์ฟแวร์ มีจำนวนการขายไม่ต่ำกว่า 15,000 บาท
28> microprocessor : ตัวประมวลผล
การประมวลผลเป็นหัวใจสำคัญของไมโครคอมพิวเตอร์
29> micro-to-mainframe linkage : ตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ เป็นผลจากการติดต่อระหว่างเมนเฟรมระบบคอมพิวเตอร์ การค้าหาข้อมูลในแผ่นดิสก์ของผู้ใช้
30> minicomputer : คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทำการรับเข้าส่งออก ใช้ระบบดิจิตอล ตัวอักษรสูงในไมโครคอมพิวเตอร์
31> internal storage : หน่วยเก็บภายใน
เป็นหน่วยเก็บข้อมูลภายในโดยตรงในระบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ภายใต้การควบคุมของ CPU
32> interpreter : ตัวแปลคำสั่งหรือชุดคำสั่งแปลคำสั่ง
เป็นระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็นตัวแปลคำสั่งหรือชุดคำสั่งแปลคำสั่งซึ่งในคำสั่งในภาษา
เครื่องเป็นการแปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาโปรแกรม
33> ISAM : วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี
เป็นวิธีที่จะเข้าถึงลำดับดรรชนีโดยตรงโดยผานทางการคีย์ข้อมูลหรือตัวอักขระ
34> item : หน่วยข้อมูล
เป็นหน่วยข้อมูลของกลุ่มความสัมพันธ์
35> laser printer : เครื่องพิมพ์ใบ้ระบบแสงเลเซอร์
เป็นอุปกรณ์การพิมพ์ที่ใช้ในการสร้างภาพหรือข้อความโดยใช้แสงเลเซอร์
36> light pen : ปากกาแสง
เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้เขียนข้อความหรือออกแบบข้อมูลต่างๆ ลงบนจอภาพล
37> local area network : ข่ายงานบริเวณเฉพาะหน้าที่
เป็นระบบเครือข่ายการติดต่อสื่อสารเฉพาะที่ที่เชื่อมโยงระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ระบบเทอร์มินัลและที่ตั้งจะอยู่บริเวณเดียวกันไม่ว่าจะเป็นอาคารหรือระหว่างชั้นในอาคารเดียวกัน
38> LST : วงจรรวมความจุสูง
เป็นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบด้วยชิปเดี่ยวเล็กๆ ทำจากซิลิคอนหรือส่วนประกอบอื่นๆประกอบเข้าเป็นชิ้นเดียวกัน
39> Machine language : ภาษาเครื่อง
เป็นภาษาที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์
40> magnetic storage : หน่วยความจำแม่เหล็ก
เป็นหน่วยความจำที่ใช้แม่เหล็กในการเก็บข้อมูล เช่น อุปกรณ์และสื่อคือ แผ่นดิสก์ การ์ด ชิป ฟิลม์ เทป
41> opreand : ตัวถูกดำเนินการ
เป็นหน่วยข้อมูลหรือเป็นเครื่องมือที่ถูกดำเนินการที่ถูกนำไปคำนวณซึ่งหน่วยข้อมูลที่ถูกไปดำเนินการจะมีตั้งแต่ 2 ข้อมูลขึ้นไป
42> Operating System : ระบบปฏิบัติการ
เป็นระบบปฏิบัติการที่ควบคุมและจัดการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้หรือผู้ที่ควบคุมหรือกำลังปฏิบัติการอยู่สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น
43> Operating code : รหัสดำเนินการ
เป็นรหัสของชุดคำสั่งที่ถูกกำหนดให้ปฏิบัติการดำเนินงานในคอมพิวเตอร์อยู่ในส่วนของคำสั่ง ระดับภาษาเครื่องที่ควบคุมโดย รหัสปฏิบัติการ
44> personal computer : คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีผู้ใช้งานแบบคนเดียวทำงานโดยไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์อย่างอื่นช่วยเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
45> pointer : ตัวชี้
เป็นตัวชี้ข้อมูลไปยังเรคคอร์ดหรือข้อมูลที่เราต้องการ
46> primary storage section : หน่วยเก็บหลัก
เป็นหน่วยเก็บหลักอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์และเป็นหน่วยความจำหลักอยู่ในส่วนของ CPU ทำการรับข้อมูล นำข้อมูลออกในระหว่างการประมวลผล
47> printer : เครื่องพิมพ์
เป็นอุปกรณ์เครื่องพิมพ์ที่สามารถแสดงผลลัพธ์ออกมาในรูปของกระดาษมีทั้งแบบเครื่องพิมพ์แบบกระทบและเครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ
48> program : ชุดคำสั่ง
เป็นโปรแกรมที่ใช้ชุดคำสั่งในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์
49> PROM : หน่วยความจำโปรแกรมลบไม่ได้
เป็นหน่วยความจำที่อ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งผู้ผลิตจะทำการบันทึกโปรแกรมเข้าไป
50> Modem : ตัวกล้ำและแยกสัญญาณ
เป็นอุปกรณ์ที่ทำการแปลงสัญญาณข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อกแล้วจึงทำการส่งออกไปสู่สายสื่อสารต่อไป
9> integrated software package : ชุดคำสั่งสำเร็จเบ็ดเสร็จ
เป็นซอร์ฟแวร์ที่มีผลคำสั่งประกอบกันหลายๆ ครั้ง ใช้ประโยชน์ในระบบ e.g. การประมวลผลในเวิร์ด เป็นการขยายหน้ากระดาษสร้างเส้นจนกระทั่งเป็นอันเดียวกัน บรรจุรวมกันสามารถมีส่วนร่วมของข้อมูลและดำเนินการดูในระหว่างทำหน้าที่ในระบบ
10> interactive system : ระบบเชิงโต้ตอบ
เป็นคำสั่งในการยอมให้มีการติดต่อและโต้ตอบกันในระหว่างระบบของผู้ใช้งานและทำการปฏิบัติงานของ CPU ในโปรแกรม
11> interface : ตัวเชื่อมประสาน
ส่วนประกอบของเขตข้อมูล e.g. ในระบบทั้ง 2 หรือกลไกในการเชื่อมประสาน
12> expert system : ระบบผู้เชี่ยวชาญ
ซอร์ฟแวร์จะรวมประกอบด้วย 1 มีความรู้ความชำนาญในขอบเขตจำนวนพื้นฐานที่ได้ทราบ 2 สามารถรอบรู้พื้นฐานในการทำและตัดสินใจมีคุณสมบัติพร้อม
13> facsimile system : ระบบโทรภาพ, โทรสาร
เป็นระบบที่ผู้ใช้สื่อสารทางรูปภาพ ต้นฉบับและแผนที่และอื่นๆ ระหว่างทางภูมิศาสตร์ ตามส่วนแยกหัวข้อ รูปภาพที่สแกนเป็นสื่อของหัวข้อและภาพจำลองความคิดของเรื่อง
14> fiber-optic cable : สายเส้นใยนำแสง
ข้อมูลที่เป็นสื่อในการนำสายใยมาดูและสายแก้ว หรือวัตถุหลอมได้ที่สามารถเป็นสื่อจำนวนมากมายในขณะที่มีความเร็วในการส่องสว่างของข่าวสารข้อความที่ออกมา
15> field : เขตข้อมูล
กลุ่มตัวอักษรที่เกี่ยวกับการปฏิบัติในยูนิต e.g. กลุ่มของผู้ใช้การ์ดข้อมูลแทนอัตราค่าจ้างเป็นชั่วโมง รวมทั้งการบันทึกรายการหัวเรื่องต่างๆ
16> flowchart : ผังงาน
แผนผังสัญลักษณ์ของผู้ใช้และการแสดงเส้นที่ติดต่อซึ่งกันและกัน
17> front-end processor : ตัวประมวลผลส่วนหน้า
ซีพียูของโปรแกรมจะทำหน้าที่เป็นตัวประมวลผลระหว่างส่วนหน้าเป็นส่วนใหญ่และมีกลไกความสามารถหลายชนิดซึ่งจะอยู่รอบนอกของโปรแกรม
18> full duplex transmission : การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา
ข้อมูลบนทางการติดต่อจะถูกส่งไปพร้อมกัน เวลาที่ซึ่งข้อมูลสามารถสื่อสารกันมันจะไหลในคำสั่งทั้งสองในเวลาเดียวกัน
19> function : ส่วนหน้าที่ย่อย
ส่วนที่ทำหน้าที่ของโปรแกรม จะเรียกใช้งานภายในและคอมพิวเตอร์นิยมทำงานในคราวเดียว การย้อนกลับของหัวข้อโปรแกรมตลอด ซึ่งของโปรแกรมจะผ่านเข้าไปตลอด
20> half-duplex transmission : การสื่อสารสองทางครึ่งอัตรา
ข้อมูลบนทางการติดต่อจะถูกส่งไปทางเดียวกัน แต่จะมีข้อมูลส่งไปสลับกันในระยะเวลาที่ต่างกันข้อมูลไม่สามารถที่จะส่งไปในเวลาเดียวกัน
21> hard copy : สำเนาถาวรหรือสิ่งพิมพ์ออก
พิมพ์หรือภาพที่ออกมาจากการมองเห็นของมนุษย์
22> mainframe : คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่สามรถรับจำนวนของกลไกภายรอบนอกได้มาก
23> maintenance programming : รักษาโปรแกรม
ข้อปฏิบัติในการักษาแก้ไขสภาพของโปรแกรมให้ถูกต้องและคงอยู่สภาพดังเดิม
24> management information system : ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศในพื้นฐานของคอมพิวเตอร์จะทำการดูทำเค้าโครงเหมือนการจัดการในสารสนเทศมีแผนจัดการเส้นแสดง แนะนำทำการแสดงผลของระบบภายในอวัยวะของร่างกาย
25> master file : แฟ้มข้อมูลหลัก
ข้อมูลในแฟ้มที่มีความคงทนถาวร หลายๆครั่งจะมีการจัดการปรับปรุงแฟ้มในการบันทึกข้อมูลให้ทันสมัยขึ้น
26> menu : รายการเลือก
คอมพิวเตอร์ที่ใช้จะเซตโปรแกรมเพื่อเตรียมการไว้เลือกคำสั่งในการแสดงหัวข้อผู้ใช้สามารถดูได้จากการเลือกเมนูคำสั่งแสดงผลโปรแกรมจะทำงานหนักมากในการรันโปรแกรม
27> microcomputer : ไมโครคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กสามารถแยกออกเป็นแต่ละประเภท ประกอบด้ววย การดำเนินงานของไมโครโปรเซสเซอร์ ผู้ใช้และปะปนกับการเก็บรักษาและการรับเข้าส่งออกส่วนต่างๆ ระบบคอมพิวเตอร์เล็กนี้จะประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์และซอต์ฟแวร์ มีจำนวนการขายไม่ต่ำกว่า 15,000 บาท
28> microprocessor : ตัวประมวลผล
การประมวลผลเป็นหัวใจสำคัญของไมโครคอมพิวเตอร์
29> micro-to-mainframe linkage : ตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กกับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ เป็นผลจากการติดต่อระหว่างเมนเฟรมระบบคอมพิวเตอร์ การค้าหาข้อมูลในแผ่นดิสก์ของผู้ใช้
30> minicomputer : คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทำการรับเข้าส่งออก ใช้ระบบดิจิตอล ตัวอักษรสูงในไมโครคอมพิวเตอร์
31> internal storage : หน่วยเก็บภายใน
เป็นหน่วยเก็บข้อมูลภายในโดยตรงในระบบดิจิตอลคอมพิวเตอร์ภายใต้การควบคุมของ CPU
32> interpreter : ตัวแปลคำสั่งหรือชุดคำสั่งแปลคำสั่ง
เป็นระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เป็นตัวแปลคำสั่งหรือชุดคำสั่งแปลคำสั่งซึ่งในคำสั่งในภาษา
เครื่องเป็นการแปลภาษาเครื่องให้เป็นภาษาโปรแกรม
33> ISAM : วิธีเข้าถึงลำดับดรรชนี
เป็นวิธีที่จะเข้าถึงลำดับดรรชนีโดยตรงโดยผานทางการคีย์ข้อมูลหรือตัวอักขระ
34> item : หน่วยข้อมูล
เป็นหน่วยข้อมูลของกลุ่มความสัมพันธ์
35> laser printer : เครื่องพิมพ์ใบ้ระบบแสงเลเซอร์
เป็นอุปกรณ์การพิมพ์ที่ใช้ในการสร้างภาพหรือข้อความโดยใช้แสงเลเซอร์
36> light pen : ปากกาแสง
เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้เขียนข้อความหรือออกแบบข้อมูลต่างๆ ลงบนจอภาพล
37> local area network : ข่ายงานบริเวณเฉพาะหน้าที่
เป็นระบบเครือข่ายการติดต่อสื่อสารเฉพาะที่ที่เชื่อมโยงระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ระบบเทอร์มินัลและที่ตั้งจะอยู่บริเวณเดียวกันไม่ว่าจะเป็นอาคารหรือระหว่างชั้นในอาคารเดียวกัน
38> LST : วงจรรวมความจุสูง
เป็นวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ประกอบด้วยชิปเดี่ยวเล็กๆ ทำจากซิลิคอนหรือส่วนประกอบอื่นๆประกอบเข้าเป็นชิ้นเดียวกัน
39> Machine language : ภาษาเครื่อง
เป็นภาษาที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์
40> magnetic storage : หน่วยความจำแม่เหล็ก
เป็นหน่วยความจำที่ใช้แม่เหล็กในการเก็บข้อมูล เช่น อุปกรณ์และสื่อคือ แผ่นดิสก์ การ์ด ชิป ฟิลม์ เทป
41> opreand : ตัวถูกดำเนินการ
เป็นหน่วยข้อมูลหรือเป็นเครื่องมือที่ถูกดำเนินการที่ถูกนำไปคำนวณซึ่งหน่วยข้อมูลที่ถูกไปดำเนินการจะมีตั้งแต่ 2 ข้อมูลขึ้นไป
42> Operating System : ระบบปฏิบัติการ
เป็นระบบปฏิบัติการที่ควบคุมและจัดการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้หรือผู้ที่ควบคุมหรือกำลังปฏิบัติการอยู่สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น
43> Operating code : รหัสดำเนินการ
เป็นรหัสของชุดคำสั่งที่ถูกกำหนดให้ปฏิบัติการดำเนินงานในคอมพิวเตอร์อยู่ในส่วนของคำสั่ง ระดับภาษาเครื่องที่ควบคุมโดย รหัสปฏิบัติการ
44> personal computer : คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีผู้ใช้งานแบบคนเดียวทำงานโดยไม่ต้องอาศัยอุปกรณ์อย่างอื่นช่วยเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
45> pointer : ตัวชี้
เป็นตัวชี้ข้อมูลไปยังเรคคอร์ดหรือข้อมูลที่เราต้องการ
46> primary storage section : หน่วยเก็บหลัก
เป็นหน่วยเก็บหลักอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์และเป็นหน่วยความจำหลักอยู่ในส่วนของ CPU ทำการรับข้อมูล นำข้อมูลออกในระหว่างการประมวลผล
47> printer : เครื่องพิมพ์
เป็นอุปกรณ์เครื่องพิมพ์ที่สามารถแสดงผลลัพธ์ออกมาในรูปของกระดาษมีทั้งแบบเครื่องพิมพ์แบบกระทบและเครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ
48> program : ชุดคำสั่ง
เป็นโปรแกรมที่ใช้ชุดคำสั่งในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์
49> PROM : หน่วยความจำโปรแกรมลบไม่ได้
เป็นหน่วยความจำที่อ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งผู้ผลิตจะทำการบันทึกโปรแกรมเข้าไป
50> Modem : ตัวกล้ำและแยกสัญญาณ
เป็นอุปกรณ์ที่ทำการแปลงสัญญาณข้อมูลดิจิตอลให้เป็นสัญญาณอนาล็อกแล้วจึงทำการส่งออกไปสู่สายสื่อสารต่อไป
วันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
อุปกรณ์เทคโนโลยีสมัยใหม่
COOL LEAF คีย์บอร์ดกระจกสุดเท่ห์
‘COOL LEAF’ เป็นคีย์บอร์ดที่บางเฉียบ-แบนราบไปกับพื้นเรียบได้เลย โดยด้านบนของมันจะเป็นพื้นผิวเรียบสะท้อนแสงได้เหมือนกระจกส่องหน้าไม่มีผิด ซึ่งทางบริษัทผู้ผลิตกล่าวว่า มันทำจากชั้นฟิล์มพลาสติก PET ซ้อนกันถึง 2,000 ชั้น ไม่ว่ามันจะหมายถึงอะไรก็ตาม แต่เซ็นเซอร์รับสัญญาณที่ซ้อนทับกันเป็นช่องภายใต้คีย์บอร์ดจะสามารถตรวจจับแรงกดของผู้ใช้ทันทีที่ใช้นิ้วออกแรงสัมผัสพื้นผิวกระจกด้านบน แม้จะดูเหมือนแผ่นกระจกทั่วไป แต่ LED ที่อยู่ด้านล่างสามารถส่องสว่าง เพื่อให้แสงทะลุผ่านช่องตัวอักษรของปุ่มต่างๆ ขึ้นมาปรากฎให้เห็นได้อย่างชัดเจน โดยเฉพาะในที่ๆ มีแสงน้อย หรือแสงภายในอาคาร ทั้งนี้ ผู้ใช้สามารถปรับระดับความดังของเสียง beep ที่บอกให้รู้ว่า คุณได้กดปุ่มนั้นๆ ประโยชน์อื่นๆ ที่ได้รับนอกจากความเท่ห์ และบางเบา เพราะด้วยความที่มันมีคุณสมบัติเป็นพื้นผิวเรียบเหมือนกระจก ดังนั้นผู้ใช้ไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับสิ่งสกปรกที่จะตกลงไปในช่องระหว่างคีย์บอร์ดเหมือนทั่วไป แต่แน่นอนว่า มันจะมีรอยมันของนิ้วมือหลงเหลือให้เห็นเป็นร่อยรอยอยู่บ้าง ซึ่งง่ายมากต่อการทำความสะอาด ‘COOL LEAF’ จะมีปุ่มกด 108 คีย์ และเชื่อมต่อผ่าน USB ทำงานร่วมกับระบบปฏิบัติการ Windows 7, Vista และ XP
ที่มา: http://www.yellowpages.co.th/content/120119082802
Application เพื่อการศึกษา
Daily English Conversations - ฝึกพูดอังกฤษในชีวิตประจำวัน

ใครที่อยากจะเริ่มต้นฝึกฟังและพูดภาษาอังกฤษกันอย่างจริงจังสักที App ที่จะแนะนำต่อไปนี้น่าจะช่วยคุณได้มากทีเดียว Daily English Conversations เป็นแอปที่นำเสนอบทสนทนาพื้นฐานที่ใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตประจำวัน ด้วยรูปลักษณ์ง่ายๆ ไม่ซับซ้อน ที่มีทั้ง Text เนื้อหาบทสนทนาและ Audio ไฟล์เสียงให้ดาวน์โหลดมาฟังประกอบได้โดยทันทีเมื่อเปิดเข้าไปที่หน้าแรกของแอปก็จะเห็นหัวข้อต่างๆ ขึ้นมาเพียบเลย ลองเลื่อนดูข้างล่างด้วยนะคะ เนื้อหาของบทสนทนาแบ่งย่อยๆ เป็น 25 ประเด็นของการพูดคุย และแต่ละประเด็นนั้นก็แยกย่อยออกเป็นเรื่องต่างๆ อย่างประเด็นสนทนาเรื่องแรก small talk (การพูดคุยเรื่องเล็กน้อยทั่วไป) ก็แบ่งเป็นเรื่องต่างๆ ได้อีก 24 เรื่อง เช่น greeting (การทักทาย) weather (การพูดคุยเกี่ยวกับดินฟ้าอากาศ) calling a friend (โทรหาเพื่อน) เป็นต้น เมื่อเข้าไปที่บทสนทนา จะเห็นแต่หัวข้อก่อน บทสนทนาถูกซ่อนไว้ เผื่อใครอยากจะฝึกฟังโดยไม่ต้องดูบท แต่ถ้าฟังเป็นครั้งแรกก็อาจจะต้องดูบทประกอบด้วยให้คลิกที่ Show script ตัวบทสนทนาก็จะปรากฏขึ้น และในบทสนทนาเรื่องเดียวกันนั้น ถ้าเราลองใช้นิ้วเลื่อนหน้าจอจากขวามาซ้ายก็จะมีบทอื่นๆในเรื่องเดียวกัน แต่ใช้สำนวนภาษาแตกต่างกัน จำนวนบทสนทนาให้ดูที่หัวข้อ เช่น Conversation 1/3 ก็แสดงว่าในหัวข้อนี้มีอยู่สามบทสนทนา รวมแล้วทั้ง 25 ประเด็นพูดคุยมีบทสนทนาย่อยๆ รวมกันมากกว่า 1611 บท เรียกว่าเหลือเฟือและครอบคลุมในทุกประเด็นเลยทีเดียว และก็ไม่รู้ว่าจะฟังได้ครบทุกบทหรือเปล่านะ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความตั้งใจและความเพียรพยายามของแต่ละคน
ที่่มา:http://coolappforwork.blogspot.com/2014/05/daily-english-conversations.html
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ www.slideshare.net อุปกรณ์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ดเมนบอร์ด พาวเวอร์ซัพพลาย เม้าส์จอภาพ จอCRT จอLCD สแกนเนอร์ ไมโครโฟน …
วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ประเภทของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศสำหรับกลุ่มบุคคลในการตัดสินใจ (Group Decision Support Systems-GDSS)
GDSS เป็นระบบสารสนเทศประเภทหนึ่งของ DSS ซึ่งมีลักษณะเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะโต้ตอบได้
(interactive) ในการสนับสนุนงานแก้ไขปัญหาที่ไม่มีโครงสร้าง
สำหรับผู้ตัดสินใจที่ทำงานกันเป็นกลุ่ม (De Santi & Gallespe, 1987) เป้าหมายของ GDSS คือการปรับปรุงประสิทธิภาพการประชุมและการตัดสินใจ
หรือทั้งสองอย่าง โดยการช่วยสนับสนุนการแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นภายในกลุ่ม
ช่วยกระตุ้นความคิด ระดมความคิด และการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Support System : ESS)
เป็นระบบสนับสนุนการตัดสินใจประเภทหนึ่งซึ่งได้รับการพัฒนามาโดยเฉพาะสำหรับผู้บริหารระดับสูงเพื่อสันบสนุนการตัดสินใจในปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง
ผู้บริหารระดับสูงใช้ระบบ ESS เป็นเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกรวดเร็วในการบริหารและตัดสินใจ
โดยระบบจะให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ทันสมัยตามความต้องเพื่อในการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ
กลยุทธ์ วัตถประสงค์ และเป้าหมาย รวมถึงการวางแผนระยะยาว
นอกจากนี้ระบบยังช่วนอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้บริหารและบุคลากรในองค์การและระหว่างองค์การด้วย
ระบบ ESS ได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถเหมาะสมและง่ายต่อการใช้งาน
สอดคล้องกับความต้องการ ทักษะ รวมถึงความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลของผู้บริหารระบบ ESS บางครั้งเรียกว่าระบบ EIS ซึ่งเป็นระบบที่ให้สารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูงเช่นกันแต่ระบบ ESS ระรวมความสามารถเพิ่มเติมด้านการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์
การวิเคราะห์ข้อมูล การจัดการและการจัดลำดับงาน
ความแตกต่าง GDSS และESS
DSS = เน้นการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi structured decision making) มีการใช้ข้อมูลข่าวสารจากระบบ MIS และข้อมูลจากภายนอกบางส่วนมาช่วยในการปรับปรุง
หรือ กำหนดแผนงานที่จะต้องสนองเป้าหมายหลักขององค์กรให้มากที่สุด เช่น ระบบ Data mimingเป็นต้น
EIS = เน้นการตัดสินใจแบบไร้โครงสร้าง (Unstructured decision making) จุดมุ่งหมายของระบบ EIS คือ
ช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นแนวทาง ความเป็นไปที่เป็นมา และกำลังจะมีแนวโน้มไปทางใด
เพื่อให้สามารถกำหนดนโยบาย เป้าหมาย หลักๆ ขององค์กรให้สามารถธำรงองค์กรไว้ได้
แข่งขันกับคู่แข่งขันได้อย่างดี ตัวอย่างเช่นระบบ วางแผนกลยุทธ์ Strategic planning เป็นต้น จะเป็นมาตรการสิ่งที่ได้จากการตัดสินใจของผู้บริหารชั้นสูงที่ใช้สั่งการไปสู่ผู้บริหารระดับกลาง
เพื่อปรับแผนงานและกระทบถึงผู้บริหารระดับต้น เพื่อปฏิบัติตามแผนงาน ใหม่ต่อไป
ที่มา
ตัวอย่างการใช้งานDSS
ตัวอย่างที่
1. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกับกลยุทธ์ในการแข่งขัน
บริษัทไฟร์สโตน (Firestone Rubber & Tire) ในรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการออกแบบยางรถยนต์ยี่ห้อใหม่ ระบบช่วยให้นักวิเคราะห์มองเห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลทางด้านการเงินในอดีตกับตัวแปรภายนอก เช่น จำนวนรถยนต์ที่ผลิตทั้งหมด ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศแล้วนำมาสร้างโมเดลในการพยากรณ์ขายด้วยโมเดลต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ ช่วยให้นักวิเคราะห์ของบริษัทไฟร์สโตน สามารถสร้างฐานข้อมูลที่บรรจุยางของคู่แข่งทั้งหมด 200 ยี่ห้อ รวมทั้งข้อมูลในการผลฺต แรงกด และปริมาณการขาย ซึ่งผู้บริหารสามารถใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลนี้สำหรับการกำหนดกลยุทธ์ในการแข่งขัน ระบบช่วยให้องค์การสามารถนำเอาประเด็นด้านเทคโนโลยีมาผนวกกับด้านการเงินในการตัดสินใจที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และช่วยสนับสนุนให้มีการตัดสินใจร่วมกันของหน่วยงานตามหน้าที่ต่างๆ ในองค์การ
ตัวอย่างที่ 2: ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกับการบริหารการจัดส่งสินค้า
บริษัทซาน ไมเกล (San Miguel Corporation) ใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารการส่งสินค้า (Production Load Allocation) เพื่อส่งสินค้ากว่า 300 ชนิด เช่น นม เบียร์ และอื่นๆ โดยส่งไปทั่วหมู่เกาะฟิลิปปินส์ ระบบดังกล่าวช่วยคำนวณความสมดุลระหว่างค่านำส่ง ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ กับความถี่ในการนำส่งและปริมาณต่ำสุดในการส่งสินค้า รวมถึงการกำหนดจำนวนสินค้าแต่ละชนิดที่จะผลิตและการนำสินค้านั้นไปเก็บไว้ในคลังสินค้าต่างๆ ระบบนี้ช่วยให้บริษัทกำหนดแผนการผลิตที่เหมาะสมและสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเก็บสินค้าไว้ในคลังได้ถึง 180000 เหรียญสหรัฐต่อปี
บริษัทไฟร์สโตน (Firestone Rubber & Tire) ในรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการออกแบบยางรถยนต์ยี่ห้อใหม่ ระบบช่วยให้นักวิเคราะห์มองเห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลทางด้านการเงินในอดีตกับตัวแปรภายนอก เช่น จำนวนรถยนต์ที่ผลิตทั้งหมด ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศแล้วนำมาสร้างโมเดลในการพยากรณ์ขายด้วยโมเดลต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ ช่วยให้นักวิเคราะห์ของบริษัทไฟร์สโตน สามารถสร้างฐานข้อมูลที่บรรจุยางของคู่แข่งทั้งหมด 200 ยี่ห้อ รวมทั้งข้อมูลในการผลฺต แรงกด และปริมาณการขาย ซึ่งผู้บริหารสามารถใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลนี้สำหรับการกำหนดกลยุทธ์ในการแข่งขัน ระบบช่วยให้องค์การสามารถนำเอาประเด็นด้านเทคโนโลยีมาผนวกกับด้านการเงินในการตัดสินใจที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และช่วยสนับสนุนให้มีการตัดสินใจร่วมกันของหน่วยงานตามหน้าที่ต่างๆ ในองค์การ
ตัวอย่างที่ 2: ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกับการบริหารการจัดส่งสินค้า
บริษัทซาน ไมเกล (San Miguel Corporation) ใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารการส่งสินค้า (Production Load Allocation) เพื่อส่งสินค้ากว่า 300 ชนิด เช่น นม เบียร์ และอื่นๆ โดยส่งไปทั่วหมู่เกาะฟิลิปปินส์ ระบบดังกล่าวช่วยคำนวณความสมดุลระหว่างค่านำส่ง ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ กับความถี่ในการนำส่งและปริมาณต่ำสุดในการส่งสินค้า รวมถึงการกำหนดจำนวนสินค้าแต่ละชนิดที่จะผลิตและการนำสินค้านั้นไปเก็บไว้ในคลังสินค้าต่างๆ ระบบนี้ช่วยให้บริษัทกำหนดแผนการผลิตที่เหมาะสมและสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการเก็บสินค้าไว้ในคลังได้ถึง 180000 เหรียญสหรัฐต่อปี
ตัวอย่างการใช้โปรแกรมDSS
![]() |
การประเมินผลงานขาย |
![]() |
แบบจำลองการพยากรณ์อากาศ |
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System) เปนระบบยอยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจะชวยผูบริหารในเรื่องการตัดสินใจในเหตุการณหรือกิจกรรมทางธุรกิจที่ไมมีโครงสรางแนนอน หรือกึ่งโครงสราง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะใชกับบุคคลเดียวหรือชวยสนับสนุนการตัดสินใจเปนกลุม นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผูบริหารเพื่อชวยผูบริหารในการตัดสินใจเชิงกลยุทธ
Decision Support System (DSS) is a computer-based application that collects, organizes and analyzes business data to facilitate quality business decision-making for management, operations and planning. A well-designed DSS aids decision makers in compiling a variety of data from many sources: raw data, documents, personal knowledge from employees, management, executives and business models. DSS analysis helps companies to identify and solve problems, and make decisions.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)